Life story & Self-mastery

ความฝันยามใกล้รุ่ง

เรื่องโดย : กรรณจริยา สุขรุ่ง วันหนึ่งในช่วงต้นเดือนมิถุนายน 2567 เราเดินทางกับอาจารย์ชัยวัฒน์ไปร่วมประชุมเรื่องการพัฒนาการท่องเที่ยวเกาะเพื่อความยั่งยืนที่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่  ระหว่างนั่งพักสบาย ๆ ยามเช้า ทานอาหาร อาจารย์เล่าถึงความฝันช่วงหัวรุ่ง ที่เพิ่งเกิดขึ้นไม่กี่วันก่อนหน้า อาจารย์ชัยวัฒน์เป็นนักฝัน … ฝันใฝ่สร้างสังคมที่ดีงาม  แต่ความฝันในยามหลับ ไม่ใช่สิ่งที่เราเคยได้ยินจากอาจารย์  เราจึงฟังด้วยความตั้งใจ  ความฝันของอาจารย์ทำเอาขนหัวลุก  ฝันลางบอกเหตุ หรือการอ่านแนวโน้ม  ไม่ว่าจะเป็นอะไร สิ่งที่เราว่าสำคัญและน่าสนใจ (ทำให้เราบันทึกคลิปนี้)  คือการวางใจ มุมมอง วิธีคิดของอาจารย์ที่มีต่อความฝันนั้น  เราว่ามันมีความหมายและเป็นประโยชน์  วิกฤตภัยธรรมชาติ ภัยสงคราม ไม่ใช่สิ่งที่เกินฝัน  มันรอปะทุอยู่เสมอ  วิกฤตภัยธรรมชาติ ภัยสงคราม ไม่ใช่สิ่งที่เกินฝัน  มันรอปะทุอยู่เสมอ  เราวางใจอย่างไรในห้วงวิกฤต  ศักยภาพอะไรที่จะพาเราฝ่าวิกฤต  ในวิกฤตมีโอกาสอะไร และเราจะใช้มันอย่างไร  ลองฟังคลิปสนทนากับอาจารย์ชัยวัฒน์เรื่องความฝันยามใกล้รุ่ง

ความฝันยามใกล้รุ่ง Read More »

Aikido is philosophy in action

ฝึกไอคิโด้ แท้จริงแล้ว เป็น experiential learning หรือ learning by doing ดังเช่น อาชีพ ช่างไม้ อาชีพทำอาหารเป็น chef คือ ต้องมีทั้ง understanding philosophy and skills ( เทคนิค ทำเป็น จนเชี่ยวชาญ) https://youtu.be/dDvjvFYAikM Aikido is philosophy in action . มันเป็นเรื่องมี awareness , focus and concentration of force alignment หลอมรวมหยิน/หยาง Learning Process  1) ครูผู้สอน หรือ Sensei เรียก คู่ต่อสู้ มาสาธิต ทำให้ดู ก่อน 3/4 ครั้ง 2)

Aikido is philosophy in action Read More »

Belonging to the Universe 

บันทึกเมื่อ ตุลาคม 2566 หนังสือเล่มนี้ ตีพิมพ์ 1992 ซื้อมา 21 ปีแล้ว นำกลับมาอ่านใหม่ ทำให้ตระหนักว่า เมื่อก่อนนี้ เรามองหลายอย่างหยาบไป จิตละเอียดอ่อนไม่พอ เป็นหนังสือของ 3 ปราชญ์ dialogue กัน -Fritjof Capra พวกเรารู้จักกันดึ จากTao of Physics  -Brother David Steindl-Rast เป็นพระนิกาย Benedictine -Thomas Matus พระคาโธลิก  การสนทนาพยายามเชื่อมวิทยาศาสตร์กับศาสนา(คริสต์) เข้าด้วยกันจากมุมมองของนักฟิสิกส์และเทววิทยา หัวใจสำคัญที่สุดอยู่ใน 5 หน้านี้ อันเป็นการเปรียบเทียบ กระบวนทัศน์เก่า และกระบวนทัศน์ใหม่  ทั้งในวิทยาศาสตร์ และ เทววิทยา สำหรับตนเอง เอากระบวนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์เป็นหลักในการเอามาใช้ กับ Systems Thinking พูดง่าย แต่ฝึกให้ ติดเนื้อติดตัว ต้อง ฝึกฝนบ่อยๆ ไม่ละทิ้ง

Belonging to the Universe  Read More »

หนังสือ คือ “กัลยาณมิตร”

หนังสือ 2 เล่มนี้ สำหรับผมคือกัลยาณมิตร 2 คน  Who do we choose to be? “คุณเลือกเอาว่าจะเป็นใคร”? เป็นการกระตุ้นท้าทายการภาวนาลุ่มลึกของการค้นหา meaning of life (ความหมายของชีวิต) ของวิคเตอร์ แฟรงเกิล Viktor Frankl อันจะนำไปสู่การเข้าถึงศักยภาพสูงสุดในตนเอง (self actualization) ตามทฤษฎีสามเหลี่ยมลำดับความต้องการของมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Needs)  ส่วนเล่มที่เป็น the Tao of Powerในเล่มเกริ่นเรื่องตัวเราต้องเป็น Evolving Force เป็นการเอา เต๋ามาใช้กับชีวิต 4 มิติ 4 ระดับนั่นเอง ดังนั้นความเป็น มนุษย์ที่เราเลือก คือ การเดินทางเผชิญหน้ากับความท้าทายกับ VUCA and BANI World ขณะเดียวกับเดินทางพัฒนาภายใน หลายคนเรียกว่า IDG ( Inner Development Goal) นั่นเอง  พระกฤษณะสอนอรชุนว่า  Who Do You Choose to Be?  Small Self… หรือจะเลือก..  Higher Self, Bigger Self อันเป็นหนึ่งเดียวกับพระนารายณ์ กับพระเจ้า เป็น Timeless Leader  เราเห็น 3 วัฒนธรรม 3 ประเพณี เรื่องเล่าและตีความ .. แต่มุ่งไปที่เรื่องเดียวกัน  “เรียนรู้

หนังสือ คือ “กัลยาณมิตร” Read More »

เอกลักษณ์ของท้องถิ่น อัตลักษณ์ของตัวเรา

Who Am I? ผมจำได้ ว่ากลางปี 2511 ผมได้กลับมาเยี่ยมบ้าน จ.นครศรีธรรมราช หลังจากไป เรียนที่เยอรมันได้ 5 ปี ค่ำวันหนึ่งที่อำเภอทุ่งสง ไม่ไกลจากบ้านน้าชายที่ผมไปพัก มีคนจัดงานบุญแล้วจ้างหนังตะลุง มาเล่นเพื่อความบันเทิง.. แค่เสียงกลอง โหม่ง กรับ อันเป็นเอกลักษณ์ของดนตรีตะลุง ผมยืนฟัง ด้วยน้ำตาคลอเบ้า รู้สึกถึงแรงสะเทือนในหัวใจ บอกกับตนเอง“ นี่คือบ้านของเรา แผ่นดินของเรา” Sense of Belonging เป็นความผูกพัน ให้ความอบอุ่นหัวใจ ให้ความหมายกับชีวิต แต่น้อยคนจะ เข้าใจ เข้าถึงแล้วเอามาพัฒนาให้เป็นมรดกสืบต่อไป  ผมตระหนักชัดเรื่องคุณค่าของประวัติศาสตร์ รัก เคารพต่อประวัติศาสตร์ทุกท้องถิ่นไทย เพราะนี่ คือ สยามคือบ้านของเรา ฝรั่งหลายคนที่ได้เกิดที่สยาม ถือว่า สยามคือบ้านของเขาด้วย เกอเธ่ กล่าว“ สิ่งที่ล้ำค้าอันได้มาจากประวัติศาสตร์ คือ ความฮึกเหิมที่ปลุกเร้าใจ เรา” มันจะนำไปสู่ spiritual connection (ความเชื่อมโยงทางจิตวิญญาณ)  และนี่คือเหตุผลว่าทำไมเราควรภาวนาก่อนทำงานใหญ่ เสมือนเราทำการภาวนาก่อนเข้าสงคราม  แต่เป็น“สงครามกับความเขลา ขาดพลังปัญญา ขาดพลังความเพียร และไม่กล้าก้าวข้าม ขอบเขตเดิม” ภาวนา อย่างจริงใจ

เอกลักษณ์ของท้องถิ่น อัตลักษณ์ของตัวเรา Read More »

เริ่มต้นที่ดอกหญ้าริมทาง

เริ่มต้นที่ดอกหญ้าริมทาง

ราษฎรอาวุโสอย่าง อาจารย์ประเวศ วะสี ได้เขียนคำปรารภไว้ในหนังสือ “ทฤษฎีไร้ระเบียบ (Chaos Theory) กับทางแพร่งของสังคมสยาม” (พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.2537) ว่า ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ คือ คนแรกที่นำทฤษฎีไร้ระเบียบมาสู่สังคมไทย สาระสำคัญของทฤษฎีที่ว่านี้เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์แนวใหม่ที่มองสรรพสิ่งสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงถึงกันและกันอย่างสลับซับซ้อน และที่สำคัญ เป็นแนวคิดที่เปิดใจ มีพื้นที่ว่างให้แก่ “ความบังเอิญ” ไร้ต้นสายปลายเหตุ ซึ่งทฤษฎีวิทยาศาสตร์แบบเก่ารับไม่ได้ สาระสำคัญของทฤษฎีที่ว่านี้เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์แนวใหม่ที่มองสรรพสิ่งสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงถึงกันและกันอย่างสลับซับซ้อน และที่สำคัญ เป็นแนวคิดที่เปิดใจ มีพื้นที่ว่างให้แก่ “ความบังเอิญ” ไร้ต้นสายปลายเหตุ ซึ่งทฤษฎีวิทยาศาสตร์แบบเก่ารับไม่ได้ สาระสำคัญของทฤษฎีที่ว่านี้เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์แนวใหม่ที่มองสรรพสิ่งสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงถึงกันและกันอย่างสลับซับซ้อน และที่สำคัญ เป็นแนวคิดที่เปิดใจ มีพื้นที่ว่างให้แก่ “ความบังเอิญ” ไร้ต้นสายปลายเหตุ ซึ่งทฤษฎีวิทยาศาสตร์แบบเก่ารับไม่ได้ แต่ใช่ว่าสังคมไทยจะใจกว้าง เพราะถึงวันนี้ ทฤษฎีไร้ระเบียบก็ยังเป็นเพียงหนังสือเล่มเล็กๆ เล่มหนึ่งที่วางนิ่งอยู่บนชั้นหนังสือ ปราศจากการนำมาศึกษาต่อเพื่อปรับใช้ในสังคมอย่างต่อเนื่องและจริงจัง แต่ถึงอย่างไร ชัยวัฒน์วันนี้ก็ยังยืนยันในจุดยืน ไม่ละทิ้งความใฝ่ฝันที่ต้องการเห็นสังคมไทยเป็นสังคมที่คนมีคุณภาพ และเป็นสังคมที่น่าอยู่กว่าเดิม เขายังคงปรารถนาอยากเป็น “นักอภิวัฒน์” (revolutionist) ไม่เสื่อมคลาย งานอภิวัฒน์ชิ้นแรกของชัยวัฒน์คือ “บางกอกฟอรัม” (Bangkok

เริ่มต้นที่ดอกหญ้าริมทาง Read More »